วันพฤหัสบดีที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2556

วันพุธที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 16
วันที่19 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.  2556


 สรุปวิจัย




วิจัยเรื่อง การจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีผลต่อทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

ปริญญานิพนธ์

ของ

ศิริลักษณ์ วุฒิสรรพ์

เสนอต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา

ตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย

ตุลาคม 2551

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

 

ความมุ่งหมายของการวิจัย

การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์

ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย ดังนี้

1. เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์โดยรวมของเด็กปฐมวัย

ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย

2. เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์รายด้านของเด็กปฐมวัย

ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย

    สรุปการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีผลต่อทักษะพื้นฐานทาง

คณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย มีจุดมุ่งหมายในการวิจัย คือ เพื่อศึกษาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์

โดยรวมและรายด้าน ของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย

ขอบเขตการวิจัยครั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชาย หญิงอายุ

5 – 6 ปี กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนบ้านสามแยก

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต 2 จำนวน 15 คนได้มาด้วยการคัดเลือกแบบ

เจาะจงจากห้องที่ผู้วิจัยเป็นครูประจำชั้น ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ตัวแปรจัดกระทำ

ได้แก่ การจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย ตัวแปรตาม ได้แก่ ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็ก

ปฐมวัย จำแนกรายด้าน 4 ด้าน คือ ทักษะการจำแนกประเภท ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการรู้

ค่าจำนวน 1 – 10 ทักษะการเพิ่ม ลด ภายในจำนวน 1 – 10

การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยและแบบประเมินเชิง

ปฏิบัติทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นจำนวน 40 ข้อ ที่มีค่าความ

เชื่อมั่นทั้งฉบับ .80

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Qusai Experimental Design) ซึ่งทำการศึกษากับ

กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับปฐมวัย โดยสร้างความคุ้นเคยกับเด็กเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์ดำเนินการ

ทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยกับกลุ่มตัวอย่างก่อนการทดลองโดยใช้แบบ

ประเมินเชิงปฏิบัติทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยมาทดสอบก่อนการจัดการเรียนรู้

แบบเด็กนักวิจัย เมื่อสิ้นสุดการทดลองผู้วิจัยได้นำแบบประเมินเชิงปฏิบัติทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์

ของเด็กปฐมวัยมาทดสอบหลังการทดลอง และนำข้อมูลที่ได้จากการทดสอบมาวิเคราะห์ด้วยวิธีการ
ทางสถิติ

 
 
 
 
เพื่อน สอบสอนอีก  2 กลุ่มที่เหลือ
เรื่อง กล้วย
เรื่อง  ข้าวโพด


บันทึกการเรียนรู้ครังที่ 15 
วันที่ 12 เดือนกุมภาพันธ์  พ.ศ.  2556
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14
วันที่ 5 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
  อาจารย์แนะนำตัวอย่างและวิธีการสอนให้ดู
ส่งงาน






วันจันทร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่  13
วันที่   29  เดือน  มกราคม  พ.ศ. 2556


อาจารย์นัดเรียนรวมทั้ง   2  เซค 
เพื่อที่จะปรึกษาหารือ  เกี่ยวกับการแสดง ของสาขา ที่จะจัดขึ้นในวันพุธ
โดยมีรายชื่อผู้แสดงและรายการแสดงดังนี้
  1. รำ  -สว่างจิตร์
  2. ร้องเพลง  -  รัตติยา
  3. โฆษณา  -  นิศาชล  ,ละมัย
  4. พิธีกร  -  ลูกหยี  ,  ซาร่า
  5. การแสดงโชว์
            ลิปชิ่งเพลง   - จุฑามาศ , นีรชา
            เต้นประกอบเพลง   -  พลอยปภัส   , เกตุวดี   , มาลินี
            ละครใบ้     - ลูกหมี ,  จันทร์สุดา
            ตลก       -  ดาราวรรณ ,ชวนชม   , ณัฐชา
     6.    ผู้กำกับหน้าม้า   -  พวงทอง   , นฏา 
     7.  ที่เหลือ -  หน้าม้า

และนำกิจกรรมมาใส่ที่มาตรฐานคณิตศาสตร์
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12
วันที่ 22  เดือน  มกราคม  พ.ศ. 2556
อาจารย์พูดเรื่องไปดูงาน
กิจกรรมไหนที่นักศึกษาสามารถนำมาตรฐานมาใส่ได้บ้าง
การสอนแบบบรูณาการคณิตศาสตร์เข้า
สาระที่ 1  การวัดและการดำเนินการ
เรื่องของจำนวน  การรวมกลุ่ม  แยกกลุ่ม
สาระที่ 2  การวัด
เรื่องการเปรียบเทียบ  เวลา  เงิน
สาระที่ 3 เรขาคณิต
ตำแหน่ง  ทิศทาง  และระยะทาง
สาระที่ 4  พีชคณิต
แบบรูป และความสัมพันธ์
สาระที่ 5  การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่ 6ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

การใช้เลขฐาน 10


วันศุกร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2556

บันทึกการรเรียนรู้ครั้งที่ 11
วันที่ 15 เดือน มกราคม  พ.ศ. 2556

 อาจารย์ให้ส่งฝา



ได้อะไรจากฝาทางคณิตศาสตร์

มาตรฐานที่ 1  การนับและการดำเนินการ
   นับจำนวนทั้งหมด
   เศษส่วน
   แทนค่าด้วยตัวเลขฮินดูอารบิก
มาตรฐานที่ 2  การวัด
   จะต้องมีเครื่องมือ จะได้ค่าหรือปริมาณจะมีหน่วยตามตัว แทนค่าด้วยฮินดูอารบิก
มาตราฐานที่  3   เรขาคณิต
   ผลิตเป็น  วงกลม  สามเหลี่ยม  สี่เหลี่ยม   สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน รวมไปทั้งตำแหน่งและทิศทาง
มาตรฐานที่  4  พีชคณิต  
   แบบรูป   ( Pattern  )   มีความสัมพันธ์  2 แกน    และเกมการศึกษา  เช่น  จับคู่  ขนาด
มาตรฐานที่   5   การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น